| | ชื่อหลักสูตร : | COMP342:วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering) -(อ.รติวัฒน์ ปารีศรี) | ผู้สร้างหลักสูตร : | ratiwat | ระยะเวลา : | 2 วัน | เนื้อหา : วงจรชีวิตการพัฒนาซอฟต์แวร์ การกำหนดความต้องการประเภทต่างๆ ของการออกแบบซอฟต์แวร์ เช่น แบบข้อมูล แบบเชิงวัตถุ แบบเชิงกระบวนการ วิธีฟอร์มอล การใช้ CASE tools การออกแบบส่วนเชื่อมต่อกับผู้ใช้ วิธีการออกแบบโปรแกรม การกำหนดคุณลักษณะของโปรแกรม นามธรรมข้อมูลและโครงสร้างการควบคุม คุณสมบัติที่สำคัญๆ ของซอฟต์แวร์ เทคนิคการแก้ไขและการทดสอบโปรแกรม การบริหารโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ เช่น การวางแผนการคิดราคาการพัฒนาซอฟต์แวร์ การบริหารรูปแบบระบบ และการบริหารการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนการจัดทำเอกสารประกอบการพัฒนาระบบ | วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อให้ น.ศ.รู้ถึงประวัติและความสำคัญของซอฟท์แวร์
2. เพื่อให้ น.ศ. เข้าใจถึงความสำคัญของหลักการวิศวกรรมซอฟท์แวร์
3. เพื่อให้ น.ศ. เข้าใจกระบวนการพัฒนาซอฟท์แวร์
4. เพื่อให้ น.ศ.เข้าใจการวิเคราะห์และออกแบบซอฟท์แวร์
5. เพื่อให้ น.ศ. สามารถพัฒนาซอฟท์แวร์อย่างมีระบบ
| คุณสมบัติผู้เข้าอบรม : น.ศ วิทยาการคอมพิวเตอร์
น.ศ เทคโนโลยีสารสนเทศ | เอกสารอ้างอิง : [1] กิตติ ภักดีวัฒนะกุล, พนิดา พาณิชกุล, 2550, วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering). , กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์.
[2] วิทยา สุตตบวร, 2551, วิศวกรรมซอฟต์แวร์เบื้องต้น , กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด.
[3] พรฤดี เนติโสภากุล, ผู้แปล, 2549 ,วิศวกรรมซอฟต์แวร์ SOFTWARE ENGINEERING , กรุงเทพฯ : บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด, ISBN 974-9918-16-9
[4] Schaum’s Outline of Theory and Problem of Software Engineering, David A. Gustafson, McGraw-Hill, 2002.
[5] Object-Oriented and Classical Software Engineering, Stephen R. Schach, Fifth Edition, International Edition, McGraw-Hill, 2002.
[6] The Unified Software Development Process, Ivar Jacobson, Grady Booch, James Rumbaugh, Addison-Wesley, 1999.
[7] Software Project Planning การวางแผนโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์, เมสินี นาคมณี, บริษัทเคโซนิก้า จำกัด, ISBN 574-92166-7-9
[8] Software Engineering: A Practitioner’s Approach, Pressman, R. S., 6th edition. McGraw Hill, 2005.
| รายละเอียดผู้สร้างหลักสูตร:
ratiwat
|
|