| | ชื่อหลักสูตร : | EDUC251:จิตวิทยาสำหรับครู หลักสูตร คบ.60 ฉบับปรับปรุง (ผศ.ดร.ภาวิดา มหาวงศ์) | ผู้สร้างหลักสูตร : | antant | ระยะเวลา : | 83 วัน | เนื้อหา : จิตวิทยาพื้นฐานและจิตวิทยาพัฒนาการของมนุษย์ จิตวิทยาการเรียนรู้และจิตวิทยาการศึกษา จิตวิทยาแนะแนวและการให้คําปรึกษา จิตวิทยาสําหรับเด็กพิเศษ ปฏิบัติการนําหลักจิตวิทยาไป ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ให้เหมาะกับพัฒนาการทางสมอง แบบการเรียนรู้ ศักยภาพและความถนัดของผู้เรียน | วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับจิตวิทยา
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในจิตวิทยาพัฒนาการของมนุษย์
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในจิตวิทยาการเรียนรู้
4. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในจิตวิทยาการศึกษา
5. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในจิตวิทยาแนะแนวและการให้คําปรึกษา
6. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในจิตวิทยาสําหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
7. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนําหลักจิตวิทยาไป ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ให้เหมาะกับพัฒนาการทางสมอง แบบการเรียนรู้ ศักยภาพและความถนัดของผู้เรียน
8. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้จิตวิทยาต่างๆไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
| คุณสมบัติผู้เข้าอบรม : - | เอกสารอ้างอิง : กนกรัตน์ สุขะตุงคะ. (2538). คู่มือจิตวิทยาคลินิก. กรุงเทพฯ : เมดิคัล มีเดีย.
กรองทอง จุลิรัชนีกร. (2554). การจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษระดับปฐมวัย. กรุงเทพฯ : บริษัทแอคทีฟ พริ้นท์.
กานดา จันทร์แย้ม. (2556). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ = Industrial and Organizational Psychology. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
กิ่งแก้ว ทรัพย์พระวงศ์. (2556). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 21. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
กุลยา ก่อสุวรรณ. (2553). การสอนเด็กที่มีความบกพร่องระดับน้อย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย .(2554).ชุดฝึกอบรมครูแนะแนว โครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คัคนางค์ มณีศรี. (2556). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ช่อระกาการพิมพ์.
จิราภรณ์ ตั้งกิตติภาภรณ์. (2557). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชนาธิป พรกุล. (2554). การสอนกระบวนการคิด ทฤษฎีและการนำไปใช้.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท วีพริ้นท์ (1991) จำกัด.
ช่อลดา ติยะบุตร. (2556). จิตวิทยาธุรกิจ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ .(2558). ศิลปะการสอนเพื่อผู้เรียนในศตวรรษที่ 21.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท วีพริ้นท์ (1991) จำกัด.
ณัฐภร อินทุยศ. (2556). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เติมศักดิ์ คทวณิช. (2546). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
นวลศิริ เปาโรหิตย์. (2542). จิตวิทยาสังคมเบื้องต้น Introduction to Social Psychology PC 263. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นิรันดร์ จุลทรัพย์. (2558). การแนะแนวเพื่อพัฒนาผู้เรียน. สงขลา: บริษัท นำศิลป์โฆษณาจำกัด
นุชลี อุปภัย. (2555). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2551). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
ผดุง อารยะวิญญู. (2541). การศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ. พิมพ์ครั้งที่ 3. ม.ป.ท.
ผดุง อารยะวิญญู. (2544). เด็กที่มีปัญหาในการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท รำไทย เพรส จำกัด.
พงษ์พันธ์ พงษ์โสภา. (2543). ทฤษฎีและเทคนิคการให้คำปรึกษา Theories and Techniques of Counseling. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา.
พงษ์พันธ์ พงษ์โสภา.(2544). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา.
พรพิไล เลิศวิชา และอัครภูมิ จารุภากร. (2551). สมองวัยเริ่มเรียนรู้. กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยการการเรียนรู้ (สวร.) สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) สำนักนายกรัฐมนตรี.
พรรณี ชูทัย เจนจิต. (2545). จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เสริมสิน พรีเพรส ซิสเท็ม.
พัชรีวรรณ เกตุแก่นจันทร์. (2541). เด็กสมาธิสั้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : P.A ART & PRINTING.
พาสนา จุลรัตน์. (2548). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศึกษาศาสตร์.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และ พเยาว์ ยินดีสุข. (2557). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิศมัย หาญสมบัติ. (2554).การแนะแนวและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน.อุตรดิตถ์ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2559). คิดเพื่อครู คำบรรยายระหว่างดำรงตำแหน่งประธานกรรมการคุรุสภา.กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยุราวดี เนื่องโนราช. (2558). จิตวิทยาพื้นฐาน.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมศัพท์จิตวิทยา.พิมพ์ครั้งที่ 2 .กรุงเทพฯ : ธนาเพรส.
ลักขณา สริวัฒน์. (2544). จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ลักขณา สริวัฒน์. (2557). จิตวิทยาสำหรับครู. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
วงพักตร์ ภู่พันธ์ศรี. (2543). จิตวิทยาเด็กพิเศษ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วจี ปัญญาใส. (2559). การแนะแนวและการพัฒนาผู้เรียน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. ม.ป.ท.
วัชรี ทรัพย์มี. (2556).กระบวนการปรึกษา : ขั้นตอน สายสัมพันธ์ ทักษะ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัชรี ทรัพย์มี. (2558). เอกสารการสอนชุดวิชาเทคนิคการปรึกษาเบื้องต้น = Introduction to techniques of counseling สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. นนทบุรี : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วัลภา สบายยิ่ง. (2558). เอกสารการสอนชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพการแนะแนว = Professional experience in guidance สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. นนทบุรี : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วารี ถิระจิ. (2545). การศึกษาสำหรับเด็กพิเศษ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2540). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย (เล่ม 1) แนวคิดเชิงทฤษฎี-วัยเด็กตอนกลาง. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2550). จิตวิทยาเด็กที่มีลักษณะพิเศษ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : หมอชาวบ้าน.
ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์ และคณะ. (2544). การเรียนรู้อย่างมีความสุข : สารเคมีในสมองกับความสุขและการเรียนรู้ .กรุงเทพฯ : สกายบุ๊กส์.
ศิริบูรณ์ สายโกสุม. (2544). พื้นฐานการให้คำปรึกษา (Foundation of Counseling). พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สถาบันราชานุกูล. (2558).เด็กสมาธิสั้น คู่มือครู. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
สถาบันราชานุกูล. (2559). เด็กที่มีความต้องการพิเศษ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ :
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.(2558). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ร่วมสมัยฉบับราชบัณฑิตยสถาน.กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน หลักการ แนวคิด และทิศทางในการดำเนินงาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. ม.ป.ท.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางพื้นฐาน พุทธศักราช 2550. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
สิริอร วิชชาวุธ .(2554). จิตวิทยาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2559). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2550).จิตวิทยาการศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 7.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวรี ศิวะแพทย์. (2549). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย. (2553). การให้คำปรึกษาทางสุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อริยา คูหา. (2556). จิตวิทยาเพื่อการดำรงชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มิตรภาพ.
อารี สัณหฉวี. (2554). ทฤษฎีการเรียนรู้ของสมองสำหรับพ่อแม่ ครู และผู้บริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
อุบลวรรณา ภวกานันท์ และคณะ. (2556). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 7, เมษายน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อุษณีย์ อนุรุทธ์วงศ์ .(2545). สมองมหัศจรรย์ .กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
อุษณีย์ อนุรุทธ์วงศ์. (2555). การเสาะหา/คัดเลือกผู้ที่มีความสามารถพิเศษ. กรุงเทพฯ : อินทร์ณน.
| รายละเอียดผู้สร้างหลักสูตร:
antant คณะครุศาสตร์ สาขาจิตวิทยาและการแนะแนว
|
|