|
|  | |  | ผู้เยี่ยมชม | 58 คน |  | สมาชิก | 0 คน |
|
|
 |
|
IS231: บริการอ้างอิงและสารสนเทศ (Reference and Information Services) | | | ชื่อหลักสูตร : | IS231:บริการอ้างอิงและสารสนเทศ (Reference and Information Services) | ผู้สร้างหลักสูตร : | sonthaya | ระยะเวลา : | 1 วัน | เนื้อหา : ความหมาย แนวคิดของการบริการอ้างอิงและสารสนเทศ เครื่องมือที่จำเป็นในการบริการอ้างอิง แหล่งสารสนเทศในรูปสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ กลยุทธ์ในการจัดบริการ บริการอ้างอิงเสมือน (Virtual Reference Service) คุณลักษณะของผู้ให้บริการ ประเมินและการส่งเสริมการบริการอ้างอิง ปัญหาและแนวโน้มในการให้บริการ | วัตถุประสงค์ : 1.เพื่อศึกษาความหมาย วัตถุประสงค์ ความสำคัญของบริการอ้างอิงและสารสนเทศ
2.เพื่อศึกษาพัฒนาการของการบริการอ้างอิงและสารสนเทศ
3.เพื่อศึกษาแหล่งสารสนเทศที่ใช้ในการบริการอ้างอิงและสารสนเทศ
4.เพื่อศึกษากลยุทธ์การบริหารจัดการ และคุณลักษณะของบรรณารักษ์บริการอ้างอิงและ
สารสนเทศ
5.เพื่อศึกษาปัญหาและแนวโน้มการให้บริการอ้างอิงและสารสนเทศ
| คุณสมบัติผู้เข้าอบรม : - | เอกสารอ้างอิง : จุฑารัตน์ ศราวณะวงศ์. (2549-2550). การจัดการความรู้ในงานบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า = Knowledge Management in reference service. วารสารสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 13(2549-2550), 49-53.
ทิพวรรณ หอมพูล และคณะ. (2542). เทคนิคการค้นหาข้อมูลการเขียนรายงานและการใช้ห้องสมุด. กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์, กุลธิดา ท้วมสุข, ชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ. (2553, กรกฎาคม-ธันวาคม ). “สภาพการบริหารและการดำเนินงานตามแนวคิดการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย. 3(2) : 58-73.
ธาดาศักดิ์ วชิรปรีชาพงษ์. (2534). หลักบรรณารักษศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
น้ำทิพย์ วิภาวิน “สมรรถนะสำหรับนักสารสนเทศ : Competencies for Information Professionals” ในสองทศวรรษการศึกษาทางไกลสารสนเทศศาสตร์ สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2553.
บุญเรือง เนียมหอม. (2540). การพัฒนาระบบการเรียนการสอนทางอินเทอร์เน็ตในระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ค.ด. (โสตทัศนศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุษกร อุสส่าหกิจ. (2540, พฤษภาคม). เทคนิคการให้บริการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ. บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มข. 15(2): 38.
ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์, กุลธิดา ท้วมสุข, ชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ. (2553, กรกฎาคม- ธันวาคม ). “สภาพการบริหารและการดำเนินงานตามแนวคิดการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย. 3(2) : 58-73.
พัชร พิพิธกุล. (2551, กรกฎาคม – ธันวาคม). “การใช้ Second Life เพื่อการเรียนการสอนทางบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์” รังสิตสารสนเทศ. 14(2) : 37-43.
พวา พันธุ์เมฆา. (2537). เกณฑ์ประเมินการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารนิเทศสำหรับบรรณารักษ์ ฝ่ายบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า . ใน บนถนนสายอาชีพ: ที่ระลึกในงานเกษียนอายุราชการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชญ์ ทับเที่ยงและผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ก้านสังวร. บรรณาธิการ โดย สุพัฒน์ ส่องแสงจันทร์; และ พวา พันธ์เมฆา หน้า 56-62. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.
พิมลพรรณ เรพเพอร์. (2536). บริการตอบคำถามและบริการสารนิเทศเพื่อช่วยการค้นคว้า. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พิมลวรรณ เรพเพอร์ และคณะ. (2539). การใช้ห้องสมุด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์. (2550). สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า. ชลบุรี: มหาลัยบูรพา.
แม้นมาส ชวลิต. (2509). ประวัติหอสมุดแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
แม้นมาส ชวลิต. (2532). สารานุกรม. กรุงเทพฯ: สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
รัตนา พรหมสวัสดิ์. (2554). การพัฒนารูปแบบบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
ระเบียบ ปาวิเศษ. (2544). การใช้อินเทอร์เน็ตของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้น คว้าในห้องสมุดมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศศี คุ้มสุข. (2549). ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาในงานบริการตอบคำถามและช่วยการ ค้นคว้าในห้องสมุดมหาวิทาลัย. ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ.
สุนันทา วงศ์ชาลี และสุรดา สุวรรณปักษ์. (กรกฎาคม – ธันวาคม 2555). ห้องสมุดมือถือ M-Library. วารสารบรรณารักษศาสตร์ มศว. 5(2) : 141-147.
สุนิตย์ เย็นสบาย. (2542). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออ้างอิง. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
สุนี เลิศแสวงกิจ และ พิศิษฐ์ กาญจนพิมาย. (2550). ห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ = Library and information literacy. กรุงเทพฯ: วังอักษร.
สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์. (2535). หนังสืออ้างอิง. (พิมพ์ครั้งที่3). กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2556). การสอบถามผ่านทางเว็บ Ask a Librarian. [On-line]. Available: http://www.eduworldnet.com/questionpoint/questionform.htm [2556, กันยายน 16]
สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2556). การสนทนาโต้ตอบออนไลน์แบบ
Realtime. [On-line]. Available:
http://www.eduworldnet.com/questionpoint/chatliteform.htm [2556, กันยายน 16]
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. (2556). คู่มือแนะนำฐานข้อมูลออนไลน์.
(แผ่นผับ).
อรทัย วารีสะอาด. (2548). บริการอ้างอิง. กรุงเทพฯ: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และ
สารสนเทศศาสตร์.
อาภากร ธาตุโลหะ. (2547). ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า. ชลบุรี: พี.เค.กราฟฟิค
พริ้นต์.
อุบล พันธ์ดารา. (2536). การใช้หนังสืออ้างอิงของนิสิตระดับปริญญาตรีจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต(สาขาบรรณารักษศาสตร์). บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุมาวดี สิงหศิวานนท์. (2545). รวมสุดยอด Search Engine. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น.
ACRL Research Planning and Review Committee. (2012, June). 2012 Top Ten Trends in
Academic Libraries: A Review of the Trends and Issues Affecting Academic
Libraries in Higher Education. College and Reseach Libraries News. 73(6) :
311-320.
Agosto, Denise E. and other. “A Model of the Reference and Information Service Process
An Educators' Perspective” Reference & User Services Quarterly 50,3
(Spring2011) : p. 235-244.
Albertsons Library, Boise State University. (2013). M-Library. [On-line]. Available:
http://library.boisestate.edu/m [2556, September 16].
Auster, Ethel; Chan, Donna C. “Reference Librarians and Keeping Up-to-Date” Reference
& User Services Quarterly. 44,1(Fall 2004) : pp 57-66.
Berube, Linda. (2003). Digital reference overview. An issue paper from the networked
services policy Task Group (UKOLN). Access date : February 2010,
http://www.ceklon.ac.uk/publignsptg/virtual.
Brophy, Peter. (2007). The Library in the twenty-first century. 2nded. London :
Facet.
Cassell, Kay Ann. & Hiremath, Uma. (2006). Reference and information services in the
21st century : an introduction. New York: Neal-Schuman Publishers.
Connaway, Lynn Silipigni and other. User – Centered Decision Making : A New Model For
Developing Academic Library Services and System. (On-ine). Avaliable:/
http://conference.ifla.org/ifla78 [17 June 2013].
Cribb, Gulcin and Holt, Ilkay. (2012) “Student Engagement and Library Use: An
Examination of Attitudes Towards use of Libraries and Information amongst
Undergraduate Students at a Turkish University Library”. Proceedings of the IATUL
Conferences.
Culture and the Future of Reference Librarians. Reference & User Services
Quarterly. 39(4): 387-390.
David, Lankes. (2008). Virtual reference service : from competencies to assessment.
New York : Neal- Schuman Publishers.
Galvin, Thomas J. (1987). Reference Service and Libraries. Encyclopedia of Library
and Information Science. 25: 210-226.
Gilson, Thomas V. and other. Reference Service Today and Tomorrow. Access date 13
January 2012. From : http://www.infotoday.com/search.
Griffiths, J.-M., & King, D. W. New directions in library and information science
education. White Plains, NY: Knowledge Industry Publications 1986.
Harrod’s Librarians’ Glossary. (2006). 10th ed. Hants: Gower.
Kaza, Padmini. Transformation of library services: with special emphasis on Digital
Reference service” in Multilingual Computing and Information Management in
Networked Digital Environment, Proceedings of Third international CALIBER-2003,
Ahmedabad. INFLIBNET. P.553-558.
Katz, William A. (2002). Introduction to Reference work. 8th ed. New York:
MacGraw-Hill.
Katz, Wiliam A. (1992). lntroduction to Reference work. 6th ed. New York:
MeGraw –Hill.
Khoo Soo Guan, Christopher.” Competencies for New Era Librarians and Information
Professionals.” [On-line]. Available: http://www.lib.usm.my/elmuequip/conference
Documents/ ICOL%202005%20Paper%202%20Christopher%20Khoo.pdf 2005.
Retrieved July 10, 2010.
Kumar, Krishan. (1984). Reference Service. 4th ed. New delhi: Vikas Publishing House.
Leong, Julia. “Academic reference librarians prepare for change: an Australian case study”
Library Management. 29,1/2 (2008) : pp. 77-86.
Luo, Lili. (2008). "Reference service in Second Life: an overview", Reference
Services Review. 36(3) : 289 – 300.
Maharana, Bulu and Panda, K. C. (2012). Virtual Reference Service in Academic
Libraries: A Case Study of the Libraries of IIMs and IITs in India. (Online).
Access date : 6 January 2012. From
eprints.rclis.org/9314/1/virtual_reference_service.pdf.
North Carolina State University Libraries. (2013). Ask Us. [On-line]. Available:
http://www.lib.ncsu.edu/askus [2556, September 16].
North Carolina State University Libraries. (2013). M-Library. [On-line]. Available:
http://www.lib.ncsu.edu/m/home/?browse=iphone [2556, September 16].
Online Computer Library Center. (2011). Perceptions of Libraries , 2010 Context and
Community : A Report to the OCLC Member. Dublin : Igour place.
Rees, A.M. (1967). Future Prospects of Reference / Information. Chicago: American
library Association.
Reference and User Services Association “Professional competencies for
reference and user services librarians” Access date 6 January 2012. From
http://www.ala.org/rusa/resources/guidelines/professional .
Saunders, Laura. (2012). “ The Reality of Reference: Responsibilities and Competencies
for Current Reference Librarians” Public Services Quarterly 8,2 (2012) : p. 114-
135.
Second Life. (2012). (On-line). Avaliable:/
http://forums.thaisecondlife.net/index.php/topic,8.0.html. [2012, May 23]
Tanloet P. and Tuamsuk K. “Core competencies for information professionals of Thai
academic Libraries in the next decade (A.D. 2010 – 2019)” The International
Information & Library Review 43,3(2011): p. 122-129.
Tyckoson, David A. (2011). “Trends, Issues, and Innovation in Academic Library
Service” Journal of Library Administration. 51(3) : 259-278.
Wilson, Myoung C. (2000, Summer). Evolution or Entropy ?: Changing Reference/User
Plains, NY: Knowledge Industry Publications.
| รายละเอียดผู้สร้างหลักสูตร:
sonthaya
|
|
|
|