หน้าหลัก รายวิชา เกี่ยวกับเรา ช่วยเหลือ ติดต่อเรา
  User Organizer
User Name
Password


สมัครเรียน ฟรี!!!

  User Online
ผู้เยี่ยมชม60  คน
สมาชิก0  คน

comm316: การวิจัยนิเทศศาสตร์ ( Research in Communication Arts) 3(3- 0-6) ( Research in Communication Arts) การวิจัยนิเทศาศตร์
 
ชื่อหลักสูตร : comm316:การวิจัยนิเทศศาสตร์ ( Research in Communication Arts) 3(3- 0-6) ( Research in Communication Arts) การวิจัยนิเทศาศตร์
ผู้สร้างหลักสูตร : suvaree
ระยะเวลา : 14 วัน

เนื้อหา :
ศึกษาระเบียบวิธีวิจัยและสถิติเบื้องต้นที่จำเป็นสำหรับการวิจัยนิเทศศาสตร์ ศึกษาถึงความหมาย บทบาท กระบวนการ ชนิด คุณลักษณะของการวิจัย ภาษาที่ใช้ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ วิธีการเขียนเค้าโครง แบบสอบถาม การสุ่มตัวอย่าง การจัดตารางข้อมูล การวิเคราะห์และการเขียนรายงานการวิจัยอันเป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพนิเทศศาสตร์

วัตถุประสงค์ :
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระเบียบวิธีวิจัยและสถิติเบื้องต้นที่จำเป็นสำหรับการวิจัยนิเทศศาสตร์
2. เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงความหมาย บทบาท กระบวนการ ชนิด คุณลักษณะของการวิจัย ภาษาที่ใช้ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์
3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและสามารถเขียนเค้าโครงการวิจัย แบบสอบถาม กำหนดวิธีการ สุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูล การนำเสนอข้อมูล และการเขียนรายงานการวิจัยอันเป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพนิเทศศาสตร์ได้

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม :
สาขานิเทศาสตร์

เอกสารอ้างอิง :
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2539). หลักสถิติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กานดา นาคะเวช. (2542). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพื้นฐาน
อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สถาบันราชภัฏพระนคร.
ชัยสิทธิ์ เฉลิมมีประเสริฐ. (2537). สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล. กรุงเทพฯ : ธนพร.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2544). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ : เทพเนรมิตรการพิมพ์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์.(2531). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ :
สามเจริญพาณิชย์.
ประคอง กรรณสูต. (2541). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ : สุธาการพิมพ์.
ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ์. (2543). การออกแบบการวิจัย. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พรทิพย์ พิมลสินธุ์. (2539). การวิจัยเพื่อการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : ประกายพรึก.
เพ็ญแข แสงแก้ว. (2541). การวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พุทธ ไกยวรรณ์. (2545). พื้นฐานการวิจัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ภัทรา นิคมานนท์. (2544). การวิจัยทางการศึกษาและสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : อักษราพิพัฒน์.
ยุทธ ไกยวรรณ์. (2545). พื้นฐานการวิจัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
เรืองอุไร ศรีนิลทา.(2535). ระเบียบวิจัย. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศิริชัย พงษ์วิชัย. (2540). การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
______. (2544). การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยคอมพิวเตอร์เน้นสำหรับงานวิจัย.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2536). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สุภางค์ จันทวานิช. (2543). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
องอาจ นัยพัฒน์. (2548). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพทางพฤติกรรมศาสตร์
และสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : สามลดา.


อุทุมพร จามรมาน. (2530). แบบสอบถาม : การสร้างและการใช้. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รายละเอียดผู้สร้างหลักสูตร:
 suvaree
สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มร.พส.

Copyright © 2011 www.psru.ac.th, All rights reserved.
license agreement Version : 3.0