| | ชื่อหลักสูตร : | LAW112(Dr.:ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย | ผู้สร้างหลักสูตร : | natdanai | ระยะเวลา : | 19 วัน | เนื้อหา : ความหมายประเภทความสำคัญการจัดทำการใช้การยกเลิกการตีความและกระบวนการยุติธรรมศึกษากฎหมายแพ่งและพาณิชย์กฎหมายอาญาและกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและอาญาเฉพาะในส่วนที่เป็นความรู้เบื้องต้น | วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ได้แก่ ความหมายประเภทความสำคัญการจัดทำการใช้การยกเลิกการตีความและกระบวนการยุติธรรม
2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์กฎหมายอาญาและ กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและอาญาเฉพาะในส่วนที่เป็นความรู้เบื้องต้น
3. เพื่อให้สามารถนำความรู้ความเข้าใจในพื้นฐานของกฎหมายเบื้องต้นไปประยุกต์ใช้ได้ทั้ง การดำเนินชีวิตต่อตนเองและส่วนรวม รวมถึงการศึกษาต่อทางกฎหมายในลำดับถัดไป
4. มีวินัยมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ รู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่นมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญได้
| คุณสมบัติผู้เข้าอบรม : นักศึกษามหาวิทยาลัยและผู้สนใจทั่วไป | เอกสารอ้างอิง : เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์. (2554 ก). กฎหมายอาญา 1 ภาคทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: พลสยามปริ๊นติ้ง.
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. (2553 ข). คำอธิบาย หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (พิมพ์ครั้งที่ 7 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร: พลสยาม.
ไกล่เกลี่ยในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา.(2549). กรุงเทพมหานคร: สำนักกิจการยุติธรรม.
คณิต ณ นคร. (2549 ก).กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (พิมพ์ครั้งที่ 7).กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.
คณิต ณ นคร. (2533 ข).อัยการกับการสอบสวนคดีอาญา. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์บริการเอกสารและวิชาการ กรมอัยการ.
คะนึง ฤาไชย. (2551). กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม 2. (พิมพ์ครั้งที่ 6 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จรัญ ภักดีธนากุล. (2553). กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งว่าด้วยอุทธรณ์ ฎีกา (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร : พลสยาม.
จิตติ เจริญฉ่ำ. (2533 ก). บทบาทของอัยการในควบคุมการสอบสวนคดีอาญา. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์บริการเอกสารและวิชาการ กรมอัยการ.
จิตติ เจริญฉ่ำ. (2553 ข). กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 1(พิมพ์ครั้งที่3).กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชาญชัย แสวงศักดิ์. (2546). คำอธิบายกฎหมายปกครอง. กรุงเทพมหานคร:วิญญูชน.
ฐานันท์ วรรณโกวิท. (2551). ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง. กรุงเทพมหานคร: ศาลฎีกา
ณรงค์ ใจหาญ. (2550 ก). หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม 2 (พิมพ์ครั้งที่ 4 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.
ณรงค์ ใจหาญ. (2552 ข). หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 10 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.
ณรงค์ ใจหาญ. (2555 ค). กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์. กรุงเทพมหานคร: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ณัฐฐ์วัฒน์สุทธิโยธิน. (2553). กฎหมายอาญาและอาชญาวิทยาชั้นสูง. กรุงเทพมหานคร: สุโขทัยธรรมาธิราช.
ณัฐพงศ์ โปษกะบุตร. (2542). หลักกฎหมายเอกชน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ณัฐวสา ฉัตรไพบูลย์. (2550). กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ : จากทฤษฎีสู่ทางปฏิบัติในนานาชาติ กรุงเทพมหานคร. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอดินบะระ.
ดิเรก ควรสมาคม. (2554). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย.กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.
เดชา ศิริเจริญ. (2549).ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ธวัชชัย ไทยเขียว. (2549). คู่มือปฏิบัติงานของพนักงานคุมประพฤติของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน. กรุงเทพมหานคร. กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน.
ธีรนิติ์ เทพสุเมธานนท์. (2555). กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นครินทร์นันทฤทธิ์. (2555). กฎหมายกับวิชาชีพพยาบาล. พะเยา: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี.
นิติธร วงศ์ยืน. (2550). กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันฺท์ ด้วยวิธีการประชุมกลุ่มครอบครัว : หลักการสำคัญโดยย่อและข้อคิดเห็นบางประการ. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงยุติธรรม.
เนธิภัททิก์ เสฏฐิตานนท์. (2553). กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาภาค 1 และ 2. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.
บุญเพราะ แสงเทียน. (2549). กฎหมายอาญา 1 แนวประยุกต์. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
ประจักษ์ พุทธิสมบัติ. (2555).คำบรรยายกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง. กรุงเทพมหานคร: เนติบัณฑิตยสภา.
ประชุมกลุ่มครอบครัว. (2549). กรุงเทพมหานคร: กรมพินิจ.
ประทุมพร กลัดอ่ำ. (2533).การนำวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับในวิธีพิจารณาความอาญา.กรุงเทพฯ:วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ประวิทย์ ชุมสวัสดิ์. (2555). กฎหมายเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธนบุรี.
ปริญญา จิตรการนทีกิจ. (2554 ก). หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม 1 พิมพ์ครั้งที่สอง (แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.
ปริญญา จิตรการนทีกิจ. (2554 ข). หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม 2 พิมพ์ครั้งที่สอง (แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน
พลโทสุข เปรุนาวิน. (2526). ระบบอัยการในต่างประเทศในระบบอัยการสากล. กรุงเทพมหานคร: กองทุนสวัสดิการ ศูนย์บริการเอกสารและวิชาการ กรมอัยการ.
มนตรี ยอดปัญญา. (2555). คำอธิบายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 2 ว่าด้วย วิธีพิจารณาวิสามัญในศาลชั้นต้น. กรุงเทพมหานคร : เนติบัณฑิตยสภา.
รวินทร์ ลีละพัฒนะ. (2555). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน
วันชัย รุจนวงศ์. (2549). ผลกระทบต่อความขัดแย้งที่มีต่อการดำเนินชีวิตของคู่กรณีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างผู้กระทำผิดกับผู้เสียหายอาชญากรรม. ยุติธรรมปริทรรศน์ (หน้า 39-41). กรุงเทพมหานคร. ศาลยุติธรรม.
ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์. (2551). คำอธิบาย นิติกรรม-สัญญา (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.
สมคิด บางโม. (2553). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: ยูแอนด์ไออินเตอร์มีเดีย.
สมชัย ทีฆาอุตมากร. (2554). ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 4 วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาและการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง. กรุงเทพมหานคร: พลสยาม.
สุพจน์ ศิริรัตนาวราคุณ. (2551). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย. ลำปาง: มหาวิทยาลัยโยนก.
สุรศักดิ์ มณีสร. (2555). เอกสารประกอบการบรรยาย กฎหมายละเมิด. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
หยุด แสงอุทัย. (2555). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป(พิมพ์ครั้งที่ 18 ฉบับพิมพ์เพิ่ม). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อรุณี กระจ่างแสง. (2532). อัยการกับการสอบสวนคดีอาญา. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อุทัย อาทิเวช. (2554 ก). คู่มือกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา. กรุงเทพมหานคร: วีเจพริ้นติ้ง.
อุทัย อาทิเวช. (2554 ข). คู่มือกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม2 สิทธิของผู้เสียหายในคดีอาญา. กรุงเทพมหานคร: วีเจ พริ้นติ้ง.
Braithwaite J. (2002). Restorative justice and responsive regulation. oxford university. England.
| รายละเอียดผู้สร้างหลักสูตร:
natdanai สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|