| | ชื่อหลักสูตร : | FST345:เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง | ผู้สร้างหลักสูตร : | pimchanok | ระยะเวลา : | 29 วัน | เนื้อหา : โครงสร้าง องค์ประกอบทางเคมีสัตว์น้ำ สาเหตุการเสื่อมเสียเปลี่ยนแปลงคุณภาพของสัตว์น้ำกรรมวิธีการแปรรูปโดยวิธีต่างๆ การควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ | วัตถุประสงค์ : 1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภท โครงสร้างและองค์ประกอบของสัตว์น้ำที่ใช้บริโภค
2.เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถตรวจสอบการเสื่อมเสียของการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของสัตว์น้ำได้
3.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและนำทฤษฎีของหลักการแปรรูปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจำวัน
4.เพื่อให้นักศึกษาวิเคราะห์และควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ได้
| เอกสารอ้างอิง : กองควบคุมตรวจสอบผลิตภัณฑ์และการแปรรูปสัตว์น้ำ. (2542). มาตรฐานสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำของประเทศผู้นำเข้าผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ. เอกสารประกอบการตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำเพื่อการส่งออก กรุงเทพฯ: กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
-------. (ม.ป.ป.). คู่มือประกอบการประเมินคุณภาพสัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ: กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กันตา จิตตั้งสมบูรณ์. (2541, มกราคม - เมษายน). ผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแปรรูปของประเทศไทย: การส่งออกยังคงติดอันดับโลก. วารสารผู้ส่งออก, 11, 8-14.
กุ้ง ใน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนเล่ม 13. (2547). [Online]. Available : http://kanchanapisek.or.th/kp6/book13/chapter10/t13-10-ml.httm [2547, ธันวาคม 24].
คณาจารย์ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. (2539). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. กรุงเทพฯ: คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จิราพร รุ่งเลิศเกรียงไกร. (2534). การเก็บรักษากุ้งแห้งเพื่อการส่งออก. กรุงเทพฯ: กรมประมง, อ้างถึงในปรีดา เมธาทิพย์, และเพ็ญศรี บุญเรือง. (2542). รายงานการวิจัยด้านการควบคุมคุณภาพและการใช้ประโยชน์จากสัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ: กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
โชคชัย ธีรกุลเกียรติ. (2538). การถนอมอาหารและการแปรรูปด้วยการทำแห้ง. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการถนอมและการแปรรูปอาหาร หน่วยที่ 11 หน้า นนทบุรี: สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ธนะบูลย์ สัจจาวนันตกุล. (2533). Food freezing ง่ายหรือยาก. วารสารอุตสาหกรรมเกษตร, 1 (1), 14-17.
ธัญนันท์ ทองคำ. (2546). สัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์.ใน เอกสารประมวลสาระวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเบื้องต้น. หน่วยที่ 8 กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาสถาบันราชภัฎ.
นงนุช รักสกุลไทย. (2538). กรรมวิธีแปรรูปสัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นงลักษณ์ สุทธิวนิช. (2531). คุณภาพสัตว์น้ำ. สงขลา: ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ประเสริฐ สายสิทธิ์. (2514). ผลิตภัณฑ์ประมงและหลักการถนอม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ คุรุสภาลาดพร้าว.
-------. (2524). ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ: สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
-------. (2527). กรรมวิธีอุตสาหกรรมประมง. กรุงเทพฯ: สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
-------. (2533). การถนอมปลาในประเทศเอเชียอาคเนย์. วารสารอาหาร, 20 (2) ,75-94.
ปรียา วิบูลย์เศรษฐ์. (2538). สาระน่ารู้เกี่ยวกับอาหารกระป๋องที่มีความเป็นกรดต่ำ. วารสารอาหาร, 25 (2) , 127-133.
พรรณทิพย์ สุวรรณสาครกุล. (2529). การพัฒนากระบวนการผลิตปลาสลิดเค็มแห้ง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีทางอาหาร). บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พวงพร โชติกไกร. (2534). จุลชีววิทยาของอาหารและนม. กรุงเทพฯ: ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พูลทรัพย์ วิรุฬหกุล, และปาริฉัตร ประวาหนาวิน. (2538). สัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาวิทยาศาสตร์การอาหารเบื้องต้น หน่วยที่ 11 หน้า 147 – 201 นนทบุรี: สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ไพโรจน์ วิริยจารี, ลักขณา รุจนะไกรกานต์, และพัชรินทร์ ระวียัน. (2539). เทคโนโลยี เนื้อปลาและผลิตภัณฑ์. เชียงใหม่: คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ภักดี โพธิศิริ. (2536). มาตรฐานอาหารระหว่างประเทศกับความปลอดภัยของอาหาร. วารสารอุตสาหกรรมเกษตร, 4 (2), 35-45.
มยุรี จัยวัฒน์. (2532). การให้ความเย็นผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
มัทนา แสงจินดาวงษ์. (2545). ผลิตภัณฑ์ประมงของไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
ลัดดาวัลย์ รัศมิทัต. (2536). จุลชีววิทยาทางอาหาร. ชลบุรี: ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
วรรณวิบูลย์ กาญจนกุญชร. (2529). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. กรุงเทพ ฯ: คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วิมล เหมะจันทร์. (2540). ชีววิทยาปลา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุทธวัฒน์ เบญจกุล. (2548). เคมีและคุณภาพสัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
อำนวย โชติญาณวงษ์. (2524). การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ประมง. กรุงเทพฯ: ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Almas, K. A. (1981). Chemistry and microbiology of fish and fish processing. Trondtheim : University of Trondtheim .
Beckett , S.T. (1995). Physico - Chemical aspects of food processing. New York: Nestle’ R + D Centre.
Chng, N. M., Kuang, H. K., & Miwa, K. (1991). Southeast Asian fish products. (2nd ed.). Changi Piont: Southeast Asian Fisheries Development Center Marine Fisheries Research Development.
Hall, G.M. (1997). Fish processing technology. (2nd ed). London: Chapman & Hall.
How food is canned. (2005). [Online]. Available: http // www.cannedfood. Org/ pdf 5% how food is canned pdf. [2005, August 19]
| รายละเอียดผู้สร้างหลักสูตร:
pimchanok e-mail: pimchanokpr
Tel:08-1971-7679 |
|