| | ชื่อหลักสูตร : | EDUC241:การวัดผลและประเมินผลการศึกษา | ผู้สร้างหลักสูตร : | krujeab | ระยะเวลา : | 35 วัน | เนื้อหา : ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการศึกษา พฤติกรรมการศึกษา การสร้างเครื่องมือวัดความรู้ (Knowledge) เจตคติ (Attitude) และทักษะกระบวนการ (Practice/Process) การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล การประเมินตามสภาพจริง สถิติเบื้องต้นในการวัดและประเมินผลทางการศึกษา คะแนนและการให้ระดับคะแนน แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนของการศึกษาขั้นพื้นฐาน | วัตถุประสงค์ : 1. อธิบายความหมายของการทดสอบ การวัด และการประเมินผล บทบาทของการประเมินผลการศึกษา ธรรมชาติและประโยชน์ของการวัดผลประเมินผลได้
2. อธิบายปัญหาของการวัดผลการศึกษา หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา และขั้นตอนในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
3. บอกคุณลักษณะที่ดีและจรรยาบรรณของผู้ทำหน้าที่วัดและประเมินผล
4. จำแนกพฤติกรรมทางการศึกษาด้านความรู้ เจตคติ และทักษะกระบวนการ และเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการวัดได้อย่างเหมาะสม
5. อธิบายหลักการสร้างเครื่องมือแต่ละประเภทและฝึกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือชนิดต่างๆ ได้อย่างมีคุณภาพ
6. บอกลักษณะของเครื่องมือวัดที่ดี การหาคุณภาพของเครื่องมือ และฝึกปฏิบัติการหาคุณภาพของเครื่องมือชนิดต่างๆ ได้
7. สามารถประเมินตามสภาพจริงได้
8. สามารถใช้สถิติเบื้องต้นในการวัดและประเมินผลทางการศึกษาได้
9. แปลความหมายคะแนนจากการทดสอบและให้ระดับคะแนนได้
10. อธิบายแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนของการศึกษาขั้นพื้นฐานได้
| คุณสมบัติผู้เข้าอบรม : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตทุกสาขาวิขา | เอกสารอ้างอิง : กมล สุดประเสริฐ. (2528). “แบบสอบวัดผลงานภาคปฏิบัติ” วารสารวิจัยทางการศึกษา. 2 (เมษายน – มิถุนายน), 41-49.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
โกวิท ประวาลพฤกษ์ และ สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์. (2523). การประเมินในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วัฒนพานิช.
ชวาล แพรัตกุล. (2552). เทคนิคการวัดผล. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิฑูรย์การปก.
ชวลิต ชูกำแพง. (2553). การประเมินการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 3. มหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสารคาม.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2550). การเรียนการสอนและการประเมินผลตามสภาพจริง. พิษณุโลก : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2546). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : เทพเนรมิตรการพิมพ์.
ชวนชัย เชื้อสาธุชน. (2544). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ. (ม.ป.ป.). การวัดและการประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (เอกสารอัดสำเนา).
ทิวัตถ์ มณีโชติ. (2549). การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. นนทบุรี : เกรท เอ็ดดูเคชั่น.
ทรงศรี ตุ่นทอง. (2552). เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา. ลพบุรี : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
นิโลบล นิ่มกิ่งรัตน์. (2531). การวัดผลงานภาคปฏิบัติ. เชียงใหม่ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (อัดสำเนา).
_________. (2536). “การวัดผลงานภาคปฏิบัติ” ปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ ปีการศึกษา 2536. เชียงใหม่ : กองบริการการศึกษา.
นิศา ชูโต. (2545). การวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : แม็ทส์ปอยท์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2543). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์. (2526). การวัดและประเมินผลการศึกษา : ทฤษฎีและการประยุกต์. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
_________. (2544). การประเมินการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : แนวคิดและวิธีการ. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้ง.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2535). การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : สามเจริญพานิช.
บุญรักษ์ ตัณฑ์เจริญรัตน์. (2542). การประเมินผลการเรียนกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์. พิษณุโลก : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ประวิตร์ ชูศิลป์. (2525). การวัดภาคปฏิบัติ. ม.ป.ท. (อัดสำเนา).
ปิ่นวดี ธนธานี. (2550). เอกสารประกอบการสอน “การวัดและประเมินผลการศึกษา”. นครปฐม : คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
เผียน ไชยศร. (2529). “การวัดผลงานภาคปฏิบัติ” วารสารการวัดผลการศึกษา. 23 (กันยายน – ธันวาคม), 37-60.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2547). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ : เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มีสท์.
_________. (2552). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มิสท์.
พิตร ทองชั้น. (2524). การวัดผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
พิษณุ ฟองศรี. (2551). วิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : พรอพเพอร์ตี้พรินท์.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพศาล วรคำ. (2554). การวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม : ตักสิลาการพิมพ์.
ไพศาล หวังพานิช. (2529). “ลักษณะของเครื่องมือวัดผลที่ดี” รายงานสรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการประเมินผลการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ภัทรา นิคมานนท์. (2540). การประเมินผลการเรียน. กรุงเทพฯ : อักษรการพิมพ์.
เยาวดี วิบูลย์ศรี. (2545). การวัดผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2543). การวัดด้านจิตพิสัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
_________. (2543). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2542). เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการประเมินผลการเรียน. สกลนคร : ครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏสกลนคร.
วิเชียร เกตุสิงห์. (2515). การวัดผลการศึกษาและสถิติเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : การพิมพ์ไชยวัฒน์.
วิราพร พงศ์อาจารย์. (2541). การประเมินผลในระดับประถมศึกษา. พิษณุโลก : คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม.
_________. (2542). การประเมินผลการเรียน. พิษณุโลก : สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม.
วิทวัฒน์ ขัตติยะมาน และฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์. (2551). การปรับปรุงจุดมุ่งหมายหมายทางการศึกษาของบลูม. http://www. Watpon.com. สืบค้นวันที่ 25 พฤษภาคม 2551.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2546). การประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ส.วาสนา ประวาลพฤกษ์. (2529). “การสอนการปฏิบัติ” รายงานสรุปผลการประชุม เชิงปฏิบัติการ เรื่องการประเมินผลการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
_________. (2544). คู่มือการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา เรื่องหลักการและเทคนิคการประเมินทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทเดอะมาสเตอร์กรุ๊ปแมเนจเมนท์ จำกัด.
สวัสดิ์ ประทุมราช. (2531). แนวคิดเชิงทฤษฎี การวิจัย การวัดและประเมินผล. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุขแก้ว คำสอน. (2549). ทฤษฎีการวัดและการทดสอบ. พิษณุโลก : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
สุรชัย มีชาญ. (2540). เอกสารการสอน การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยที่ 2. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สุวรีย์ ศิริโภคาภิรมย์. (2540). การประเมินผลการเรียน. ลพบุรี : คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏเทพสตรี.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2546). การประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวิทย์ มูลคำ. (2542). แฟ้มสะสมงาน. กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย.
สมคิด พรมจุ้ย. (2544). เทคนิคการประเมินโครงการ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมนึก ภัททิยธนี. (2553). การวัดผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์.
สมบูรณ์ ชิตพงศ์ และศศิธร ชุตินันทกุล. (2554). เอกสารการสอนชุดวิชา สถิติ วิจัย
และประเมินผลการศึกษา. หน่วยที่ 7. กรุงเทพ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมบูรณ์ สุริยวงศ์ และสมจิตต์ เรืองศรี. (2525). การประเมินผลวิชาวิทยาศาสตร์.
กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์การพิมพ์.
สมพร สุทัศย์. (2544). การทดสอบทางจิตวิทยา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์. (2544). การยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและการประเมินตาม
สภาพจริง. เชียงใหม่ : The Knowledge Center.
อนันต์ ศรีโสภา. (2524). การวัดและการประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
วัฒนาพานิช.
อุทุมพร จามรมาน. (2530). การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : ฟันนี่พับลิชชิ่ง.
_________. (2532). การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดลักษณะผู้เรียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ฟันนี่.
_________. (2540). แฟ้มสะสมงาน (Portfolio) ของนักเรียน ครู ศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารโรงเรียนเพื่อการพัฒนานักเรียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ฟันนี่.
Allen, M.J. and Yen, W.M. (1979). Introduction to Measurement Theory. California : Brook/ Cole Publishing Company.
Bloom, Benjamin S. and Other. (1971). Handbook on formative and Summative Evaluation of Student Learning. New York : McGraw-Hill.,.
Creswell, John W.. (1994). Research Design : Qualitative & Quantitative
Approaches. California : Sage publications.
Ebel, R.L. (1979). Essentials of Education Measurement. 3rd ed. Englewood Cliffs,N.J. Prentice-Hall.
Garrett, Henry E. (1973). Statistics in Psychology and Education. 6th ed. Bombay : Feffer and Simon Private.
Guskey, Thomas R. (2000). Evaluating professional development. California : Corwin Press.
Niko, A.J. (2004). Educational Assessment of Students. New Jersey :
Pearson Prentice Hall.
Sax, Gilbert. (1989). Principles of Educational and Psychological Measurement and Evaluation. 3rd ed. United states : Wadsworth Publishing Company Inc.
Wiersma, William and Jurs Stephen G. (1990). Educational and Psychological Measurement and Evaluation. New Jersy : Prentice-Hall, Inc.
Wiggins, Grant. (1998). Educative Assessment : Designing Assessments to Inform and Improve Student Performent. San Francisco : Jossey-Bass Publishers.
| รายละเอียดผู้สร้างหลักสูตร:
krujeab
|
|